ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
เมษายน 15, 2021, 15:43:34
35,495
กระทู้ ใน
4,046
หัวข้อ โดย
5,131
สมาชิก
สมาชิกล่าสุด:
Tonyoam
หน้าแรก
เว็บบอร์ด
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
ชุมชนคนรัก...ฮินดู (ฮินดูมิทติ้ง HM)
Hindu สนทนา
นวราตรี..วิชัยทัสมิ 2017
(ผู้ดูแล:
กาลิทัส
,
อักษรชนนี
)
อยากทราบความเป็นมาครับ
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
หน้า:
[
1
]
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: อยากทราบความเป็นมาครับ (อ่าน 5612 ครั้ง)
kritapong
อาภัสรา
ออฟไลน์
กระทู้: 265
โอม ศักติ โอม
อยากทราบความเป็นมาครับ
«
เมื่อ:
สิงหาคม 28, 2011, 18:49:12 »
สงสัยว่า องค์พระกฤษณะมีส่วนเกี่ยวข้องกับวันชัยทัสมิอย่างไรครับ
รอผู้รู้มาตอบนะครับ
บันทึกการเข้า
kritapong
อาภัสรา
ออฟไลน์
กระทู้: 265
โอม ศักติ โอม
ตอบ: อยากทราบความเป็นมาครับ
«
ตอบ #1 เมื่อ:
กันยายน 02, 2011, 17:10:10 »
ช่วยตอบหน่อยเถอะครับอยากรู้
บันทึกการเข้า
กาลิทัส
ทีมงาน HM
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 2,454
ตอบ: อยากทราบความเป็นมาครับ
«
ตอบ #2 เมื่อ:
กันยายน 03, 2011, 11:25:10 »
จริงๆ แล้วพระกฤษณะกับนวราตรีแทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย แต่ก็จะมีการกล่าวถึงเล็กน้อย ดังนี้ครับ
นวราตรี คือเทศกาลบูชาพระแม่ทุรคาเป็นหลัก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเชื่อว่า 9 วันแห่งนวราตรีนั้น
จะเป็นการบูชา พระแม่ทุรคาในภาคปราบมหิงสาสุมาดิณี 3 คืน บูชาพระลักษมี 3 คืน และ สุดท้ายบูชาพระสรัสวตี 3 คืน ก่อนวันวิชัยทัสมิ
และในช่วง 3 วันสุดท้ายแห่งเทศกาลนี้เอง มีพระนามแห่งพระกฤษณะไปเกี่ยวข้อง นั่นคือ พระสรัสวตีเป็นสัญลักษณ์แห่งความรู้ทั้งปวง โดยในคัมภีร์ภควัตรคีตาใน พระกฤษณะทรงกล่าวไว้ว่า "ถ้าเราไม่มีความรู้ด้วยตนเองแล้ว ก็คงไม่มีคุณค่าในตัวเอง และความรู้ที่เกิดขึ้นจะมีสรัสวตีเป็นสัญลักษณ์" อีกประการหนึ่งในช่วงเทศกาลนวราตรีทั้ง 9 วัน จะมีการเฉลิมฉลองโดยการเต้นรำอย่างมีความสุข (ไม่แน่ใจว่าเรียกว่า "ระ-สะ" รึเปล่า) ซึ่งการเต้นรำนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งประกฤษณะ ซึ่งหมายถึงความสุขของจิตใจที่บริสุทธิ์และเงียบสงบ มีความเข้าใจในธรรมชาติภายในตัวตน
ดังนั้นการที่นำพระกฤษณะมาบูชาในเทศกาลนวราตรี คงเนื่องมาจาก เป็นตัวแทนแห่งการเต้นรำ และ เฉลิมฉลองอย่างสนุกสนาน รวมไปถึงการให้เกียรติแก่พระสรัสวตีที่เกิดอยู่ในช่วงหนึ่งของ ภควัตรคีตา ด้วยครับ
ทราบแค่นี้จริงๆ
บันทึกการเข้า
kritapong
อาภัสรา
ออฟไลน์
กระทู้: 265
โอม ศักติ โอม
ตอบ: อยากทราบความเป็นมาครับ
«
ตอบ #3 เมื่อ:
กันยายน 04, 2011, 18:54:25 »
ยังไงก็ขอบคุณพี่กาลิทัสมากๆนะครับ
ที่มาให้ความรู้
บันทึกการเข้า
กาลปุตรา
ปรนิมมิตวสวัตดี
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 144
ตอบ: อยากทราบความเป็นมาครับ
«
ตอบ #4 เมื่อ:
ตุลาคม 24, 2015, 23:44:01 »
มีตำนานที่เกี่ยวข้องกับมหาภารตะและเกี่ยวข้องกับพระทุรคาเทวี ที่น่าสนใจว่า
ในเรื่องการกำเนิดของพระกฤษณะนั้น ก่อนที่พระมหาวิษณุจะอวตารลงมา พระองค์ได้เรียกโยคะนิทราเข้าพบ (ซึ่งก็จะหมายถึงพระศักติเทวี และเป็นพระทุรคาเทวี) แล้วตรัสว่า
"ในเวลานี้วสุเทพและเทวกีกำลังโดนคุมขังอยู่ บัดนี้เศษะที่แบ่งภาคไปจากข้าได้ไปกำเนิดในครรภ์ของเทวกีแล้ว เธอจงไปจัดกานย้ายเศษะจากครรภ์ของเทวกีไปอยู่ในครรภ์ของโรหิณี หลังจากจัดการเรียบร้อยแล้วข้าจะไปปรากฎในครรภ์ของเทวกี และเธอก็จะไปกำเนิดเป็นธิดาของนันทะกับยโศทาที่วฤนทาวนะ"
"เนื่องจากเธอจะปรากฏเป็นน้องสาวของข้า ผู้คนจะบูชาเธอด้วยสิ่งอันมีค่าอย่างมากมายและจะสักการะบูชาเธอ แล้วเธอจะเป็นผู้ตอบสนองให้เขาสมปรารถนาได้โดยเร็ว"
ตรงนี้เองจึงทำให้ชาวอินเดียใต้มีทรรศนะว่าพระศักติเทวีหรือพระทุรคานั้นเป็นน้องสาวของพระกฤษณะ (ภาคหนึ่งของพระวิษณุ) แล้วจะเห็นได้จากพระศักติในรูปมูรติต่างๆ นั้นในยามวิวาห์ก็มักจะมีพระวิษณุหรือพระกฤษณะมาทำหน้าที่จูงน้องสาวเข้าสู่พิธีวิวาห์อยู่บ่อยครั้ง แล้วก็ยาวต่อไปว่าเมื่อน้องสาวเดินทางยาตราไปไหนพี่ชายก็จะเป้นผู้ขับราชรถนำให้เสมอนั่นเอง
บันทึกการเข้า
อันจิตมนุษย์นั้นชอบวิ่งออกไปแสวงหาพระเจ้าจากวัตถุภายนอก
จนลืมย้อนมองดูพระผู้เป็นเจ้าที่แท้จริง อันสถิตอยู่ในใจเรา
[/COLOR][/HIGHLIGHT][/FONT]
หน้า:
[
1
]
พิมพ์
ชุมชนคนรัก...ฮินดู (ฮินดูมิทติ้ง HM)
Hindu สนทนา
นวราตรี..วิชัยทัสมิ 2017
(ผู้ดูแล:
กาลิทัส
,
อักษรชนนี
)
อยากทราบความเป็นมาครับ
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ประชาสัมพันธ์
-----------------------------
=> ระเบียบและปัญหาการใช้งาน
=> ประชาสัมพันธ์
-----------------------------
Hindu สนทนา
-----------------------------
=> แนะนำตัวเอง
=> นวราตรี..วิชัยทัสมิ 2017
=> ชุมชนคนรัก...ฮินดู
=> ศิลปะวัฒนธรรมของไทยและอินเดีย
=> เพลงบูชา
=> แกลอรี่
-----------------------------
Buddhist สนทนา
-----------------------------
=> สนทนาภาษาพุทธ
Powered by SMF 1.1.21
|
SMF © 2006-2009, Simple Machines
กำลังโหลด...