พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุพระอรหันตสาวก
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image001.jpg&hash=0f781920c12fa166bbf3577ebdc62b0192d47674)
พระบรมสารีริกธาตุ
พระธาตุพระอรหันตสาวก
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งสัจธรรม
มีหลักธรรมคำสอนที่สามารถปฏิบัติให้รู้ตามเห็นจริงได้ การบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนานั้น บรรลุที่ใจ ไม่สามารถแสดงออกให้ผู้อื่นรู้เห็นได้
แต่มีอยู่สิ่งหนึ่งซึ่งสามารถเป็นหลักฐานพยานแห่งการบรรลุธรรมในทางพระพุทธศาสนา นั่นคือ
พระธาตุ (https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image002.jpg&hash=af035031459adee65cde56f90d4b4ed0c9fea08b)
คำว่า
พระธาตุ เป็นคำกลางๆเรียกใช้แบบรวมๆ ดังนั้นจึงมีการแยกประเภทของ
พระธาตุ เป็น 2 ระดับคือ
ของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เรียกว่า
พระบรมสารีริกธาตุ
ของพระอรหันตสาวกเรียกว่า
พระอรหันตธาตุ
พระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า
นั้น มีอยู่ 2 ประเภทคือ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image003.jpg&hash=50b6ca152b2403eac01aeb9c51a71fe9d4108ed3)
1. พระพุทธสรีระธาตุองค์ใหญ่ (ประเภทไม่แตกกระจาย) คงรูปตามเดิม มี 7 ส่วนคือ
1.1 พระอุณหิศ (กะโหลกศีรษะของพระพุทธเจ้าส่วนที่โปนออกไป) ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองอนุราชสิงหฬ
1.2 พระรากขวัญเบื้องขวา (ไหปลาร้า) ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองอนุราชสิงหฬ
1.3 พระรากขวัญเบื้องซ้าย(ไหปลาร้า) ประดิษฐานอยู่ ณ พรหมโลก
1.4 พระทาฒธาตุขวาเบื้องบน(พระเขี้ยวแก้ว) ประดิษฐานอยู่ ณ ดาวดึงส์เทวโลก
1.5 พระทาฒธาตุซ้ายเบื้องบน(พระเขี้ยวแก้ว ) ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองคันธารรัฐ
1.6 พระทาฒธาตุขวาเบื้องล่าง(พระเขี้ยวแก้ว) ประดิษฐานอยู่ ณ ลังกาสิงหฬ
1.7 พระทาฒธาตุซ้ายเบื้องล่าง(พระเขี้ยวแก้ว) ประดิษฐานอยู่ ณ นาคพิภพ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image004.jpg&hash=7257018c5ce6d27b88216a667daf0eb428e070b8)
2. ประเภทแตกกระจายเป็นส่วนอื่นนอกจาก 7ส่วนนั้น จะไม่มีลักษณะเดิมของอัฐิเหลืออยู่
ขนาดเล็กเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด
ขนาดกลางเท่าเมล็ดข้าวสารหัก
และขนาดใหญ่เท่าเมล็ดถั่วเหลือง
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image005.jpg&hash=47d332c642c9bc78bb6b0014c9f7763eaab33832)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image006.jpg&hash=93cf21d0b024dcc46e961fe94b4c24a76cf70483)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image007.jpg&hash=4be759dddd1eab730492f7c8c38089ae3d05af3a)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image008.jpg&hash=55a60124828afb088a74acb2589f42c1be555f50)
พระอรหันตธาตุของสาวก
นั้นมีลักษณะแตกต่างจากพระบรมสารีริกธาตุ คือมีขนาดใหญ่กว่า วรรณะหยาบกว่า และหลากหลายลักษณะสัณฐานตามวาสนาบารมีของพระอรหันต์แต่ละองค์
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image009.jpg&hash=15c21cac24c8a82f2aaefdb9b527505428102670)
ตัวอย่างสัณฐานของพระอรหันตธาตุของพระสาวกในสมัยพุทธกาลเช่น
พระธาตุพระสารีบุตร สัณฐานเป็นปริมณฑลบ้าง รีเป็นไข่จิ้งจก พรรณขาวสีสังข์ สีพิกุลแห้ง สีหวายตะค้า
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-sareebut.jpg&hash=66969e9dd5ee48575e57ce60ecce03b9d8f0fbbe)
พระธาตุพระโมคคัลลานะ สัณฐานกลม หรือรีเป็นผลมะตูม สีเหลือง สีขาว เขียวช้ำใน ลายดังไข่นกบ้าง ร้าวเป็นสายเลือดบ้าง
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-mokalana.jpg&hash=3f5ae59449f96e6013c45e553ed4b8c56becffa3)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-mokalana3.jpg&hash=053841a0ad587268706bbc94566470924709fa8c)
พระธาตุพระสีวลี สัณฐานดังเมล็ดในพุทรา หรือผลยอป่า หรือเมล็ดมะละกอ วรรณสีเขียวดังผักตบบ้าง สีแดงแบบสีหม้อใหม่บ้าง สีพิกุลแห้งบ้าง เหลืองดั่งหวายตะค้า หรือขาวดั่งสีสังข์บ้าง
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-seewalee.jpg&hash=937153243d5a6ff9bba33bb5deda80afccbeb3e1)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-seewalee2.jpg&hash=f2a8a4e41f51c9da10f13de7301fabbc1bb5ad45)
พระธาตุพระอานนท์สัณฐานดั่งใบบัวเผื่อน พรรณดำดั่งน้ำรัก หรือสีขาวสะอาดดั่งสีเงิน
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-arnon.jpg&hash=20eb7db066dfe2ab154e395a9bf75ad6d229c4e8)
พระธาตุพระองคุลีมาล สัณฐานคอดดังคอลาก ที่มีรูโปร่งตลอดเส้นผมลอดได้ก็มี พรรณขาวดังสีสังข์
เหลืองดังดอกจำปา สีฟ้าหมอก
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-ongkuleemal.jpg&hash=fbb07eafe77333d0e5b47332fd7c1a2b5ed25849)
พระธาตุพระอัญญาโกณฑัญญะ สัณฐานงอนช้อยดังงาช้าง พรรณขาวดังดอกมะลิตูม เหลืองอย่างหนึ่ง ดำอย่างหนึ่ง
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2FTAT-gontanya.jpg&hash=2808488ea3927fba7c27456c48e15182ded687bd)
อย่างไรก็ตาม
พระธาตุและ
พระบรมสารีริกธาตุก็มีคุณสมบัติเหมือนกัน
คือ
1. หากมีขนาดเล็กเท่าเมล็ดข้าวสารลงไปสามารถลอยน้ำได้ น้ำจะเป็นแอ่งบุ๋มลงไปรองรับพระบรมสารีริกธาตุไว้และปรากฏรัศนีเป็นแฉกๆอยู่โดยรอบ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image010.jpg&hash=9eca0e1bba31744032836093b8aa6c886c54460f)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image011.jpg&hash=bcf0359569c966de0d0f6f48575301332037632b)
2. หากลอยน้ำพร้อมๆกันหลายองค์ก็จะค่อยๆลอยเข้าหากันและติดกันในที่สุด
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image012.jpg&hash=291015082f83011cca1b36991cd9e0efdfdd0b7e)
3. หากเป็นพระธาตุที่มีขนาดใหญ่ ก็สามารถที่จะเปล่งแสงในกาลเวลาอันสมควรได้ เสด็จมาเพิ่มจำนวนได้ เสด็จหายไปได้ ขยายองค์ใหญ่ขึ้นได้ รวมหลายองค์เข้าเป็นองค์เดียวได้
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image013.jpg&hash=a54ea059662db744c594a4c7553bad50458eac90)
ในแผ่นดินไทยของเราได้รองรับพระพุทธศาสนาเป็นเวลาเกือบพันปี มีผู้ปฏิบัติธรรมได้บรรลุมรรคผลเป็นจำนวนมาก แม้ในปัจจุบันก็ปรากฏเป็นข่าวเสมอว่ามีพระอริยสงฆ์ที่มรณภาพแล้ว อัฐิแปรสภาพเป็นพระธาตุ จึงทำให้เกิดมีการบันทึกลักษณะการแปรสภาพจากอัฐิหรือเศษกายของพระอริยเจ้าสู่ความเป็นพระธาตุ
การแปรสภาพจากอัฐิเป็นพระธาตุมี 4 ลักษณะ
คือ
1. จากเดิมกระดูกเป็นฟอง แล้วเริ่มหดตัวบางส่วน รวมตัวเข้าเป็นผลึก หินปูนจะมากขึ้นและเริ่มมน จนเป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์ มีลักษณะกลมรีคล้ายเมล็ดข้าวโพด
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image014.jpg&hash=dd5372e9023b09b36eb192468943e79364607d35)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image015.jpg&hash=e8eb658a0dfa91862c43f1918c2459e7bedcebc3)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image016.jpg&hash=b1b3abf8ae86d803b9181922b8d51da378b0f443)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image017.jpg&hash=1a3fac1198ebed330b1780063486e7f5568b0bb4)
2. จากกระดูกที่เป็นชิ้นยาว แนวเยื่อกระดูกเป็นเส้นบางๆ เยื่อกระดูกเกาะเป็นผลึกหินปูนจนเต็มรูพรุน และแปรเป็นพระธาตุซึ่งคงรูปเดิมของชิ้นอัฐิ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image018.jpg&hash=e18a2d50001ce05018e632c3e1acc1b4ca27772a)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image019.jpg&hash=20f67fb4dd5ffbedbbdef424c81044d124efa3a4)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image020.jpg&hash=3567a0b2ecd3ab285d4e388cdf53317037e298d3)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image021.jpg&hash=d52c00de0c887a2d6e28c8e3f99330945d8531a8)
3. ชิ้นอัฐิธรรมดามีองค์พระธาตุผุดขึ้นและค่อยๆโตขึ้น และหลุดออกเป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image022.jpg&hash=125fd9f0efa4bf30f471ceff15829bf38fbdf28c)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image023.jpg&hash=654ddda4965391c15b9cd65ad6fb49cd9bef8535)
4. ในขณะเผาศพมีวัตถุธาตุเศษกาย ส่องแสงประกายหยดออกจากร่าง ตกกระทบกับสิ่งที่รองรับ ก็กระจายออกเป็นพระธาตุขนาดต่างๆ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image024.jpg&hash=5936de51d6d8ab9c76dc83c66e1acd149fdc37c6)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image025.jpg&hash=8a26c0930ab4fdce07b6823f8bd71b09894f4aaf)
นอกจากการแปรสภาพของอัฐิ ยังมีการแปรสภาพจากส่วนอื่น เช่น แปรสภาพจากเส้นเกสา โดยมีการรวมตัวกันเป็นเส้นเกสา มีเส้นในใสๆ งอกออกมาเกี่ยวพันกันจนแน่น แล้วรวมตัวเป็นเนื้อเดียวกันและเป็นพระธาตุในที่สุด บางครั้งก็มีพระธาตุงอกออกมาจากปลายของเกสา และหลุดออกมาเป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image027.jpg&hash=507e712db6aab4da71fb043721d466faead13e8d)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image029.jpg&hash=b7f4d6dda177c3ccc2b73ea83e4559418c422888)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image031.jpg&hash=5866587d869c0b492885265f35943da5766fc9c7)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image033.jpg&hash=00e7d2b1b70ad40d69600325de2ebb2b0fb500e7)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image035.jpg&hash=156e84c77729eedc6d9d52c75b121b1a256dd18d)
ในบางครั้งก็มีผลึกพระธาตุเสด็จมาประทับรวมกับเส้นเกสาโดยปาฏิหารย์ แม้ในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ก็มี
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image037.jpg&hash=d17c2021d588be5308a8b77134e7ce033446e062)
การแปรสภาพเป็นพระธาตุจากส่วนต่างๆของร่างกายของท่าน เช่น กระดูกสะบ้า เส้นเกสา เล็บ ฟัน ชานหมาก ข้าวก้นบาตร เป็นต้น
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image039.jpg&hash=7a9303c1701b556b827b61b5be413c1675a00c30)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image041.jpg&hash=094acc47e8421fd1454397560784a0d864f1ce6e)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image043.jpg&hash=9f2e159272ab2c715bbbeab93b59c0bf4b35a6ea)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image045.jpg&hash=a81b1be0b5ef916b7bf620d5a6ab2dad42582db1)
แม้วัตถุมงคลของท่าน บางครั้งก็มีพระธาตุเสด็จมาเกาะอยู่ด้วย นอกจากนี้เถ้าอังคารก็สามารถแปรสภาพเป็นพระธาตุได้ หรืออุจจาระของท่านก็สามารถแปรสภาพเป็นพระธาตุ จนบางสำนักต้องสั่งให้เอาปูนมาโบกทับส้วมของท่านไว้ ไม่ให้คนมาขุด น้ำที่สรงอัฐิเก็บไว้ไม่เททิ้งก็มีการรวมตัวแปรสภาพเป็นพระธาตุได้
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image047.jpg&hash=66c0c5a03cd32361e856d9bab98963bbd95fb465)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image049.jpg&hash=3830a497cec53db3484426c9e45622a0dc45ddf5)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image051.jpg&hash=02e09cd7e1c6dbe0db8665eae5baf0395ee7d205)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image053.jpg&hash=1ad8653ca07f9cb501da347edfc7b618cf1d95ec)
พระอริยสงฆ์ไทยที่แปรสภาพเป็นพระธาตุนั้น มีจำนวนมากยิ่งนัก อาธิเช่น
หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image055.jpg&hash=c2115b096bfb80f0547d6fda33db61127db47cd6)
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image057.jpg&hash=03d4b525bf4061c6567204e4b88a691817708777)
ครูบาศรีวิชัย สิริวิชโย
ครูบาผาผ่า ปัญญาวโร
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image059.jpg&hash=73007112d5a035c400a88c05564cd9db2030adf1)
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image061.jpg&hash=b17842ef2ef6574053c187ac8d614b4f9674629d)
หลวงปู่ต่วน อินทปัญโญ
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
หลวงปู่หลุย จันทสาโร
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image063.jpg&hash=9a86cd370fb5a6beac3faa51ffce0853db18edd4)
หลวงปู่สีลา อิสสโร
หลวงปู่ขาว อนาลโย
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image065.jpg&hash=5fbcc0c867e7efe7f6ee99b428ff34d2ea3e2ab6)
หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ
หลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม
หลวงปู่แหวน สุจินโณ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image067.jpg&hash=3933108e279341631a4d49268424e9a4aa6d5fa7)
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image069.jpg&hash=bbdaa7f004eea0c78e0835643e0b7f415142711d)
หลวงปู่คำดี ปภาโส
หลวงปู่ครูบาพรหมา พรหมจักโก
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image071.jpg&hash=dd494cd55aad2ba95d8302687aeb3b0a83a53f3c)
สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ วัดนรนาคสุนทริการาม
หลวงปู่สิม พุทธาจาโร
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image073.jpg&hash=d621760b1eff8986f993a8446fca2c36546726ea)
หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ
พระธรรมวิสุทธิมงคล(หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)
หลวงปู่อุ่น อุตตโม
หลวงปู่สาม อกิญจโน
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image075.jpg&hash=935a50d4667235a7b4d58affc41f305d4796fa52)
หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล
หลวงปู่ชา สุภัทโท
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image077.jpg&hash=bc1cd3b592a59c0c2ecd3582cdb97f5c5f448538)
หลวงปู่บุญ ชินวโส
หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโท
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image079.jpg&hash=37db5ef64b94fe9d4d08294924ecb9f93846f579)
ครูบาบุญปั๋น ธัมมปัญโญ
หลวงปู่ผาง จิตตคุตโต
หลวงปู่บัว สิริปุณโณ
หลวงปู่วัน อุตตโม
หลวงปู่จวน กุลเชฏโฐ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image081.jpg&hash=b7df06a446476628a8cf71b2b7cd40a015c5f981)
หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร
หลวงปู่สุภาพ ธัมมปัญโญ
พระราชพรหมญาณ(หลวงพ่อฤาษี ลิงดำ)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image083.jpg&hash=2d7c1c54950bdc3dcf295684793ec3c8e7b9006b)
หลวงปู่หล้า เขมปัตโต
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image085.jpg&hash=29962bb2b4aa787b1948143e49637ae580d4098c)
หลวงปู่ผาง ปริปุณโณ
หลวงปู่ลี ฐิตธัมโม
พระโพธิธรรมาจารย์(หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image087.jpg&hash=0f0bd8a330a976c87bfa10b66174b941c9c75cad)
ครูบาสมหมาย นันทิโย
คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image089.jpg&hash=0afaba3ff1be1a506efbeb4cb4e3915ffc2f43a4)
และยังมีอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอ่ยนาม
(https://forum.hindumeeting.com/proxy.php?request=http%3A%2F%2Fwww.kaolud.com%2Fpublicize%2Fpratart%2Fkaolud-pratart_clip_image091.jpg&hash=ee402c34bf047ac744f74966ed0662d75a6efbd9)
สำหรับปัจจัยที่ทำให้อัฐิของท่านแปรสภาพนั้น มีผู้รู้กล่าวว่าเป็นเพราะพลังจิตของท่านที่ฝึกมาดีแล้ว จิตของท่านเป็นจิตบริสุทธิ์ จึงทำให้กายของท่านเป็นของบริสุทธิ์ได้ด้วย
การแปรสภาพช้าหรือเร็วนั้น ขึ้นอยู่ที่ว่าท่านบรรลุธรรมแล้วมีชีวิตอยู่ต่อนานหรือไม่ ถ้าท่านมีชีวิตครองธาตุขันธ์อยู่นาน ย่อมเป็นที่แน่ใจได้ว่าจะสามารถแปรสภาพเป็นพระธาตุได้แน่นอน และรวดเร็ว แต่ถ้าท่านบรรลุธรรมแล้ว มรณภาพไปโดยเร็ว ไม่เป็นที่แน่ใจว่าจะสามารถแปรสภาพเป็นพระธาตุได้หรือไม่ หรืออาจจะเป็นแต่ใช้เวลานาน
ร่างกายบางส่วนที่ท่านเพ่งจิตบ่อยๆก็สามารถจะแปรสภาพเป็นพระธาตุได้ และมีความใสบริสุทธิ์สะอาดกว่าส่วนอื่น เพราะธาตุกายเป็นสิ่งที่ผู้ปฏิบัติธรรมและพุทธศาสนิกชนทั่วไปให้ความเคารพอย่างสูงสุดและพยายามแสวงหามาไว้สักการบูชา บางครั้งก็ได้มาแต่เพียงอัฐิชิ้นเล็กๆที่ยังไม่แปรสภาพหรือเส้นเกสาที่ยังไม่แปรสภาพ ถึงกระนั้นก็ยังเป็นที่หวงแหนของเจ้าของยิ่งนัก
เพราะพระธาตุนั้นเป็นสัญลักษณ์ส่วนหนึ่งของท่านผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นพยานแห่งการบรรลุธรรมให้ผู้ที่สักการบูชาได้ยึดถือเป็นแบบอย่างและมีกำลังใจในการทำความดี มีกำลังใจในการประพฤติปฏิบัติธรรมให้เห็นธรรม เพราะเมื่อเห็นพระธาตุแล้วก็รู้ว่าการปฏิบัติธรรมนั้นได้ผลจริง บริสุทธิ์จริง พ้นทุกข์จริง
คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
นะโมฯ 3 จบ
อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธนาเมอิ
อิเมนาพุทธตังโสอิ อิโสตังพุทธปิติอิ
สถานที่จัดแสดงพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันตธาตุสมัยพุทธกาล
พระบรมธาตุเจดีย์มหาจักรีพิพัฒน์ วัดญาณสังวราราม จ.ชลบุรี
เอกสารอ้างอิง
สารคดีพระธาตุ วัดอโศการาม พิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและสมโภชน์ พระธุตังคเจดีย์ เมษายน พศ. 2551
-
ตำราพระธาตุ พร้อมด้วยสัณฐานและวรรณพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุพุทธสาวกขีนาสวะอรหันต์เจ้าทั้งหลายโดยสังเขป ของโรงพิมพ์การศาสนา
-
พระพุทธรูปและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ นาวาอากาศโท ภาสกร จูฑะพุทธิ
ขอขอบคุณ
www.kaolud.com